ข่าวกิจกรรมโครงการ
โครงการวิจัย “นิเวศยานยนต์ไฟฟ้า” สานสัมพันธ์สู่การถ่ายทอดเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้า ไทย-จีน
ช่วงวันที่ 4-9 ธันวาคม 2567 คณะวิจัยโครงการ “กลไกการพัฒนาระบบนิเวศยานยนต์ไฟฟ้าเพื่อยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการภาคการขนส่งภาคการเดินทาง และภาคการเกษตรระดับท้องถิ่นในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ” ได้รับพิจารณาสนับสนุนจาก กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุนส่งเสริม ววน.) และ หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) ปีงบประมาณ 2567 เดินทางประสานเชื่อมโยงกลุ่มผู้ดำเนินการห่วงโซ่อุปทานระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีน (China Supply-side) กับประเทศไทย อาทิ ผู้ประกอบการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไฟฟ้าและมหาวิทยาลัย โดยมีเป้าหมายได้แก่
ทีม CUID สำรวจคลัสเตอร์นมวัวพลกรัง
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 ทีม CUID คณะวิจัยโครงการฯ ประสานวิสาหกิจกลุ่มผู้เลี้ยงโคนมพลกรัง ลงสำรวจเชิงพื้นที่เครือข่ายฟาร์มโคนม “คลัสเตอร์นมวัวพลกรัง” เพื่อดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลด้านต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่การวางแผนและขับเคลื่อนกลไกการพัฒนาระบบนิเวศยานยนต์ไฟฟ้าเพื่อยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการภาคเกษตรกรรม
การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ
การพัฒนาคลัสเตอร์ยานยนต์ไฟฟ้า
โครงการวิจัย “นิเวศยานยนต์ไฟฟ้า” สานสัมพันธ์สู่การถ่ายทอดเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้า ไทย-จีน
ช่วงวันที่ 4-9 ธันวาคม 2567 คณะวิจัยโครงการ “กลไกการพัฒนาระบบนิเวศยานยนต์ไฟฟ้าเพื่อยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการภาคการขนส่งภาคการเดินทาง และภาคการเกษตรระดับท้องถิ่นในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ” ได้รับพิจารณาสนับสนุนจาก กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุนส่งเสริม ววน.) และ หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) ปีงบประมาณ 2567 เดินทางประสานเชื่อมโยงกลุ่มผู้ดำเนินการห่วงโซ่อุปทานระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีน (China Supply-side) กับประเทศไทย อาทิ ผู้ประกอบการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไฟฟ้าและมหาวิทยาลัย โดยมีเป้าหมายได้แก่
ทีม CUID สำรวจคลัสเตอร์นมวัวพลกรัง
วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 ทีม CUID คณะวิจัยโครงการฯ ประสานวิสาหกิจกลุ่มผู้เลี้ยงโคนมพลกรัง ลงสำรวจเชิงพื้นที่เครือข่ายฟาร์มโคนม “คลัสเตอร์นมวัวพลกรัง” เพื่อดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลด้านต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่การวางแผนและขับเคลื่อนกลไกการพัฒนาระบบนิเวศยานยนต์ไฟฟ้าเพื่อยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการภาคเกษตรกรรม
การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ
ความรู้พื้นฐานยานยนต์ไฟฟ้า สำหรับผู้ใช้
พื้นฐานช่างยานยนต์ไฟฟ้า
ธุรกิจยานยนต์ไฟฟ้า
เทคโนโลยีบริหารกิจการยานยนต์ไฟฟ้า
เครือข่ายยานยนต์ไฟฟ้า
ผลิตภัณฑ์ยานยนต์ไฟฟ้า
แพลตฟอร์มเดินทางด้วยยานยนต์ไฟฟ้า
ผลิตภัณฑ์ให้บริการด้วยยานยนต์ไฟฟ้าผ่านอุปกรณ์สื่อสาร Mobile Phone โดยบริษัท พีพีเอส ยูทิลิตี้ จำกัด ร่วมกับบริษัท ล็อกซเล่ย์ จํากัด (มหาชน) นำร่องในพื้นที่เมืองเชียงใหม่ ผ่าน LoMo Platform EV Localization Project โดยร่วมมือกับ LoMo Platform และ บริษัท ที แอนด์ พี ควอลิตี้ ซัพพลาย จำกัด บูรณาการกับแนวคิด…